คุณรู้หรือไม่ ? นอกจากประวัติการสร้างสมเด็จวัดระฆัง 108 ปี มีเรื่องที่ต้องพิจารณาก่อนตัดสินใจซื้ออีกมากมายไม่ว่าจะเป็นดีไซน์ สี ขนาด ราคา วัสดุที่ใช้และน้ำหนักซึ่งปั จจัยเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความชอบและลักษณะ ซึ่งมีทั้ง ประวัติการสร้างสมเด็จวัดระฆัง 108 ปี และการใช้ของแต่ละบุคคล ดังนั้นหากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังมองหา ประวัติการสร้างสมเด็จวัดระฆัง 108 ปี วันนี้ทางเราได้จัด แนะนำ ประวัติการสร้างสมเด็จวัดระฆัง 108 ปียี่ห้อดีต่อใจมาให้คุณแล้ว!
2. สมเด็จวัดระฆัง100ปี
พระสมเด็จวัดระฆัง อนุสรณ์ 100 ปี วัดระฆังโฆสิตาราม กทม 2515 พิมพ์เล็ก. พระสมเด็จ100ปีวัดระฆังโฆสิตาราม กทม. พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่แท้. สมเด็จ วัด ระฆัง พิมพ์ ใหญ่. พระสมเด็จวัด ระฆัง 108 ปี
3. พระสมเด็จอนุสรณ์ 200 ปี สมเด็จเกษไชโย พิมพ์ใหญ่ 9 ชั้น รุ่นประวัติศาสตร์ วัดไชโยวรวิหาร อ่างทอง ปี 2531 พระเกจิ 108 ร
พระสมเด็จอนุสรณ์ 200 ปี สมเด็จเกษไชโย พิมพ์ใหญ่ 9 ชั้น รุ่นประวัติศาสตร์ วัดไชโยวรวิหาร อ่างทอง ปี 2531 พระเกจิ 108 รูปร่วมปลุกเสก หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์(หลวงพ่อโต) สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังษี) เมื่อร้อยกว่าปีเศษมาแล้ว พระมหาพุทธพิมพ์เดิมนั้นได้ลงรักปิดทอง แต่กาลเวลาผ่านมาถึงเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2470 ท่านมีความประสงค์ที่จะลงรัก ปิดทองใหม่ จึงได้ทําการลอกทองออกจากองค์พระ แต่ปรากฏต่อมาท่านได้ออกไปเรี่ยไร เพื่อนําปัจจัยมาซื้อทองปิดองค์หลวงพ่อ แต่แล้วท่านได้มรณภาพไปเสียก่อน นับแต่นั้นมาจนถึงปี 2531 ท่านเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน พระวิสิฐนิมมานการ (แฉล้ม จนทวณโณ) ได้เริ่มที่จะปิดทององค์หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ เหตุการณ์มหัศจรรย์ได้ปรากฏขึ้น คือ องค์หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ได้ไปเข้าฝัน ดร.เถลิง เหล่าจินดา บอกว่าขณะนี้ยังไม่ได้ปิดทอง ดังนั้น ท่านเจ้าอาวาส และดร.เถลิงเหล่าจินดา พร้อมด้วยข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน จึงร่วมกันทําพิธีลงรัก ปิดทอง และก่อนที่จะลงรัก ปิดทอง ต้องกะเทาะ ลอกทองเก่าออกจากองค์หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ก่อน ขณะที่ทําการกะเทาะองค์อยู่นั้น ท่านเจ้าอาวาสได้นิมิตว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์โต มาบอกว่าผง และทองคํา ที่เอาออกจากองค์นั้นควรจะนําไปทําพระสมเด็จ(ทองคํานําไปผสมทําพระทองคํา) เพื่อให้ประชาชนได้นําไปบูชา ท่นเจ้าอาวาสจึงได้นําเรื่องไปปรึกษากับคณะกรรมการวัด และพร้อมใจกันสร้างพระสมเด็จรุ่นนี้ขึ้นมาใช้ชื่อว่า สมเด็จรุ่นประวัติศาสตร์ ที่ให้ชื่อนี้เพราะว่าโอกาสที่จะนําผงจากองค์หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ มาทําผงพระสมเด็จคงไม่มีอีกแล้วในชีวิตพวกเรา ก่อนที่จะทําการสร้างพระสมเด็จชุดนี้นั้น นายช่างทําพระสมเด็จได้ปรารภกับท่านเจ้าอาวาสว่า ถ้าได้พระประสกมาผสมกับผงอีกก็จะทําให้เพิ่มพุทธานุภาพของพระสมเด็จชุดนี้มากยิ่งขึ้น ในอดีตพระประสกขององค์หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ เคยล่วงมาแล้วในปี 2521 จํานวน 1 อันและ พ.ศ.2531 ช่างมาสํารวจ ปรากฏว่าชํารุดอีก 1 อัน ท่านเจ้าอาวาสเลยตั้งกัลยาจิตอธิษฐานว่า ถ้าจะทําพระสมเด็จชุดนี้สําเร็จแล้ว ขอให้หลวงพ่อพระมหาพุทธพิมพ์ประทานเพิ่มพระประสกอีก ปรากฏว่าเมื่อสํารวจแล้วครั้งสุดท้ายก่อนซ่อมองค์หลวงพ่อ มีประสกชํารุด 47 อัน อาจจะเป็นเพราะแรงอธิษฐานหรือว่าเหตุใดไม่ทราบได้ ฉะนั้น ท่านเจ้าอาวาส และคณะกรรมการของวัดจึงได้จัดทําพิธีมหาพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ตรงกับวันพฤหัสบดี ข้น 10 ค่ํา เดือน 11 โดยอาราธนาพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศ จํานวน 108 รูป มาร่วมพิธี สมเด็จพระสังฆาราช สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ เป็นพระประธานจุดเทียนชัย NoBrand
4. สมเด็จพิมพ์ใหญ่ เนื้อผงพุทธคุณ108 ค่ายอดิศร ทหารม้าสระบุรี สร้างปีพ.ศ.2514
พระสมเด็จ เนื้อผงพุทธคุ ณ ผสมผงวิเศษของคณาจารย์มากมาย ่่๋๋. ค่ายทหารม้า อดิศร สระบุรี สร้าง+คณาจารย์มาปลุกเ สกมากมาย. พุทธคุณ ครอบจักรวาฬแล้วแต่จะอธิฐานขขอพร เด่นเรื่องเมตตามหานิยม และเเคล้วคลาดนิรันตราย. พระเครื่องเนื้อผง. พระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ ซึ่งได้รับการยอมรับและยกให้เป็นจักรพรรดิ์ของพระเครื่อง นั่นก็คือที่สร้างโดย ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี อมตะเถระแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งท่านได้รังสรรค์สร้างพระเครื่องประเภทพระสมเด็จชิ้นฝัก สร้างขึ้นมาจากเนื้อผงพุทธคุณ. กรรมวิธีในการสร้างพระเครื่องประเภทเนื้อผง สําหรับพระเครื่องเนื้อผงนั้น มวลสารหลักที่ใช้ในการจัดสร้างได้แก่ ปูนเปลือกหอย ซึ่งการสร้างพระเครื่องจากเนื้อผงนี้ถือเป็นศิลปแขนงหนึ่งในเชิงช่างการปั้นปูน ซึ่งปูนที่นํามาปั้นเป็นพระเครื่องเนื้อผงนั้นหลักๆ ก็มาจากเปลือกหอยและประสานเนื้อหามวลสารต่างๆ ด้วย ยางไม้. น้ําอ้อย หรือขี้ผึ้งชั้นดี สําหรับพระเครื่องเนื้อผงที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุดที่สามารถหาข้อมุลได้นั้นได้แก่ พระเนื้อผง กรุทัพข้าว จ. สุโขทัย รองลงมาก็คือ สมเด็จอรหัง วัดมหาธาตุ พระนคร ซึ่งสร้างโดย สมเด็จพระสังฆราช สุก ไก่เถื่อน สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และพระสมเด็จอรหังนี้ถือเป็นต้นแบบในการสร้างพระเนื้อผง รูปทรงสี่เหลี่ยมชิ้นฟัก ซึ่งสร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อประมาณปี ๒๓๖๐ สมเด็จพระสังฆราช สุก ไก่เถื่อน นี้ ท่านเป็นเกจิอาจารย์ที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี เคารพนับถือเป็นอย่างยิ่ง และถือเอาวัตรปฏิบัติ ตลอดจนวิธีการสร้างพระของสมเด็จพระสังฆราช สุก ไก่เถื่อน นี้มาสร้างสมเด็จวัดระฆัง สมเด็จบางขุนพรหม และสมเด็จเกศไชโย อันนับเป็นพระเนื้อผงที่ได้รับความศรัทธานิยมสูงสุดมาโดยตลอด. กรรมวิธีการจัดสร้างพระเนื้อผงที่มีมาแต่โบราณกาลนั้น จะมีกรรมวิธีและขั้นตอนหลักๆ ๒ ขั้นตอน ประกอบไปด้วย. ๑. การเตรียมวัตถุดิบ. เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าเนื้อหามวลสารหลักที่นํามาใช้ในการจัดสร้างพระเนื้อผงได้แก่หรือที่มักจะเรียกกันว่าก็ได้ โดยขั้นตอนของการเตรียมผงปูนขาวนั้น จะนําเอาเปลือกหอยที่จัดเตรียมมานํามาเผาไฟ จากนั้นจะนํามาตําและบดให้ละเอียด จะได้เป็นผงที่ถือว่าเป็นวัตถุดิบหลัก ผงที่ได้จากขั้นตอนนี้เราจะเรียกว่า. ผงปูนเปลือกหอย. หลังจากนั้นจะทําการจัดเตรียมมวลสารที่เป็นมงคลอื่นที่นํามาเป็นส่วนผสมสําหรับคลุกเคล้ากับผงปูนเปลือหอย อาทิเช่น ว่านดอกไม้. แร่ทรายเงินทรายทอง. วัตถดิบศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ. ของทนสิทธิ์. เศษพระเครื่องเนื้อดินที่เป็นพระกรุในจังหวัดกําแพงเพชร ตามตํารากล่าวว่าพระสมเด็จ วัดระฆังโฆสิตาราม นั้นท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ท่านได้นําเอาเศษพระกําแพงซุ้มกอ ที่หักนํามาตําและบดผสมในเนื้อพระสมเด็จ วัดระฆังโฆสิตาราม เป็นต้น ก็จะนําเอามวลสารประกอบดังกล่าวมาตําและบดให้ละเอียดเช่นเดียวกัน เมื่อได้ผงทั้ง ๒ ส่วนแล้ว จะนําเอามาผสมกับผงวิเศษ ๕ ประการ ซึ่งจะขอกล่าวในหัวข้อถัดไป จากนั้นคลุกเคล้ามวลสารต่างๆ ให้เข้ากันดี และนําเอากล้วยน้ําว้า. น้ํามันตั้งอิ๊ว. น้ําอ้อย. ยางไม้ หรือขี้ผึ้งชั้นดี อะไรก็ได้สุดแล้วแต่จะหาได้หรือตามสูตรการสร้างพระเครื่องที่ได้ร่ําเรียนมา เพื่อใช้เป็นตัวยึดประสานเนื้อหามวลสารที่เป็นผงต่างๆ ให้จับตัวรวมกันเป็นก้อน เพื่อสะดวกแก่การนําไปปั้นขึ้นรูป หรือกดกับแม่พิมพ์พระเครื่อง ต่อไป ย้อนกลับมากล่าวถึงการทําผงวิเศษ สําหรับผงวิเศษนี้ เป็นกรรมวิธีการทําที่จะต้องใช้ความมานะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง เพราะต้องเขียนอักขระเลขยันต์ต่างๆ ลงบนกระดานชนวนและเมื่อสําเร็จก็ลบ แล้วรวบรวมผงที่ลบเสร็จปั้นเป็นก้อนดินสอสําหรับเขียนใหม่ กระทําซ้ําเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าได้จะปริมาณผงวิเศษตามที่ต้องการ ซึ่งพระเกจิอาจารย์ที่ถือว่าเป็นต้นแบบของการเขียนลบผงวิเศษนั้น ได้แก่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม ผู้สร้างพระสมเด็จอันสูงค่ายิ่ง ส่วนกรรมวิธีการเขียน-ลบ ผงวิเศษ มีดังต่อไปนี้. การทําผงวิเศษ. ขั้นตอนการทําผงวิเศษจะเริ่มจากเรียกสูตร คําว่าก็คือ การเขียนอักขระเลขยันต์ นานาประเภท อันประกอบไปด้วย การบริกรรมสูตรพระคาถาต่างๆ ตามจังหวะของการเขียนอักขระเลขยันต์นั้นๆ ด้วย. ดินสอผงวิเศษ. ซึ่งดินสอผงวิเศษนี้ถูกสร้างขึ้นมาจากส่วนประกอบของศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อาทิเช่น ดินโป่ง ๗ ป่า ดินที่มีเกลือสินเธาว์ผุดเกรอะกรัง มีพบอยู่ตามป่าทั่วไป). ดินตีนท่า ๗ ดีนท่า ดินท่าน้ํา ๗ ท่าน้ํา). ดินหลักเมือง ๗ หลักเมือง. ขี้ไคลเสมา. ขี้ไคลประตูวัง. ขี้ไคลเสาตะลุงช้างเผือก. ยอดสวาท. ยอดรักซ้อน. ดอกกาหลง. ดอกราชพฤกษ์. น้ํามัน ๗ รส น้ํามันที่ได้จากของ ๗ ประเภท จะเป็นพืชหรือสัตว์ก็ได้ ยิ่งหายากยิ่งดี และดินสอพอง เป็นต้น เอาส่วนผสมทั้งหมดมาผสมรวมกันแล้วบดให้ละเอียด นํามาผสมเจือกับน้ําเพื่อปั้นเป็นแท่งดินสอไว้สําหรับเขียนอักขระเลขยันต์ต่างๆ เมื่อได้แท่งดินสอผงวิเศษแล้ว จะเข้าสู่กรรมวิธีการทําผงวิเศษ ที่จะต้องกระทํากันในพระอุโบสถ โดยจัดเตรียมเครื่องสักการะบูชาคุณครูบาอาจารย์ทั้งหลายตามที่ได้รับการประสิทธิประสาทมา เมื่อพร้อมแล้วจะเริ่มต้นเข้าสู่การเขียน-ลบ ผงเพื่อทําผงวิเศษ โดยมีลําดับในการเขียนอักขระเลขยันต์และลบทําผง ดังต่อไปนี้: ๑. ๑ ผงปถม ปะ-ทะ-มัง). ผงนี้นับได้ว่าเป็นผงเริ่มต้นหรือปฐมบทแห่งการเขียนอักขระเลขยันต์ การทําผงประเภทนี้จะทําการลงอักขระเลขยันต์ นะ ทุกชนิดตามสูตรปฐมพินธุ ซึ่งตามคําภีร์ไสยเวทย์ชั้นสูงถือว่าเป็นผงแห่งการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งมวลในโลกนี้ การทําผงปถม ปะ-ทะ-มัง คือการนําเอาดินสอผงวิเศษ มาเขียนเรียกสูตร นะ ปถม พินธุ นะ-ปะ-ทะ-มัง-พิน-ธุ ลงบนแผ่นกระดานชนวน เขียนแล้วลบ ลบแล้วเขียน เรียกสูตรเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนหมดดินสอผงวิเศษที่ปั้นขึ้นมา ก็จะได้ผงปถม ซึ่งขี้นตอนการสร้างผงปถม นี้จะกินระยะเวลาประมาณ ๒-๓ เดือน เป็นอย่างน้อย. ๑. ๒ ผงอิทธะเจ. เกิดจากการนําเอาผงปถมที่ทําสําเร็จเสร็จสิ้นแล้วมาปั้นเป็นดินสอผงวิเศษขึ้นมาอีก แล้วเขียนอักขระเลขยันต์ด้วย สูตรมูลกัลจายน์ หรือสูตรมูลกระจาย อันถือเป็นรากฐานแ
5. #108 พระสมเด็จ คะแนน เนื้อดิน พิมพ์เล็ก
พระสมเด็จพิมพ์เส้นด้ายเล็ก