1. ดอกกาหลง 50 เมล็ด
TLS. ดอกกาหลง. ออกดอกเป็นช่อกระจะแบบสั้น ๆ โดยจะออกบริเวณปลายกิ่งประมาณช่อละ 2-3 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตร ดอกย่อยเป็นสีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ โคนก้านดอกมีใบประดับขนาดเล็กประมาณ 2-3 ใบ ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียวแหลม ส่วนดอกมีลักษณะตูมเป็นรูปกระสวย ยาวประมาณ 2.5-4 เซนติเมตร เมื่อดอกบานเต็มที่จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-8 เซนติเมตร ดอกมีกลีบสีขาว 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน มีลักษณะเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่กลับ ปลายกลีบมน โคนสอบ กว้างประมาณ 2 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร ส่วนกลีบเลี้ยงเป็นสีเขียวมีกลีบ 5 กลีบติดกันคล้ายกาบ กว้างประมาณ 1-1.8 เซนติเมตรและยาวประมาณ 2.5-4 เซนติเมตร ปลายกลีบมีลักษณะเรียวแหลมและแยกเป็นพูเส้นสั้น ๆ 5 เส้น ดอกมีเกสรเพศผู้ 10 ก้าน ก้านชูอับเรณูแต่ละก้านจะยาวไม่เท่ากัน มีขนาดตั้งแต่ 1.5-2.5 เซนติเมตร อับเรณูเป็นสีเหลืองสด ลักษณะเป็นรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร และมีเกสรเพศเมียอยู่ระหว่างกลางอีก 1 ก้าน มีขนาดใหญ่และยาวกว่าเกสรเพศผู้ ก้านชูเกสรเพศเมียจะยาวประมาณ 1 เซนติเมตร รังไข่รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร และยอดเกสรเพศเมียมีลักษณะเป็นแผ่นกลม สามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี. สมุนไพรกาหลง. มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ ว่า. เสี้ยวน้อย. เชียงใหม่. โยธิกา. นครศรีธรรมราช. กาแจ๊กูโด. มลายู. นราธิวาส. ส้มเสี้ยว. ภาคกลาง. เป็นต้น. ลักษณะของกาหลง. ต้นกาหลง. 1-3. เมตรเปลือกลําต้นเรียบเป็นสีน้ําตาลกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีขาวขึ้นปกคลุมส่วนกิ่งแก่ผิวค่อนข้างเกลี้ยงและไม่ค่อยมีขนต้นกาหลงเป็นพันธุ์ไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตปานกลางเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนที่ระบายน้ําได้ดีชอบความชื้นปานกลางและชอบแสงแดดแบบเต็มวันขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตอนและการเพาะเมล็ดหากปลูกจากเมล็ดจะใช้ระยะเวลาประมาณ. 2-4. ปีจึงจะออกดอกและติดฝัก. ใบกาหลง. 2. พูโคนใบมนเว้าเป็นรูปหัวใจส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ. 9-13. เซนติเมตรและยาวประมาณ. 10-14. เซนติเมตรแผ่นใบเป็นสีเขียวอ่อนมีเส้นใบออกจากโคนใบประมาณ. 9-10. เส้นปลายเส้นกลางใบมีติ่งเล็กแหลมเส้นใบสีเขียวสด หลังใบเรียบเกลี้ยงส่วนท้องใบมีขนละเอียดสีขาวก้านใบยาวประมาณ. 3-4. เซนติเมตรส่วนหูใบลักษณะเรียวแหลมยาวประมาณ. 1. เซนติเมตรร่วงได้ง่าย และมีแท่งรยางค์เล็กๆ อยู่ระหว่างหูใบโดยปกติแล้วต้นกาหลงจะผลัดใบในช่วงฤดูหนาวและเริ่มแตกใบอ่อนในช่วงฤดูร้อน. ดอกกาหลง. 2-3. ดอกก้านดอกยาวประมาณ. 0.5-1.5. เซนติเมตรดอกย่อยเป็นสีขาว มีกลิ่นหอมอ่อนๆ โคนก้านดอกมีใบประดับขนาดเล็กประมาณ. 2-3. ใบลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียวแหลมส่วนดอกมีลักษณะตูมเป็นรูปกระสวยยาวประมาณ. 2.5-4. เซนติเมตรเมื่อดอกบานเต็มที่จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ. 5-8. เซนติเมตรดอกมีกลีบสีขาว. 5. กลีบขนาดไม่เท่ากันมีลักษณะเป็นรูปวงรีหรือรูปไข่กลับปลายกลีบมน โคนสอบ กว้างประมาณ. 2. เซนติเมตรและยาวประมาณ. 4-6. เซนติเมตรส่วนกลีบเลี้ยงเป็นสีเขียวมีกลีบ. 5. กลีบติดกันคล้ายกาบกว้างประมาณ. 1-1.8. เซนติเมตรและยาวประมาณ. 2.5-4. เซนติเมตรปลายกลีบมีลักษณะเรียวแหลมและแยกเป็นพูเส้นสั้นๆ. 5. เส้นดอกมีเกสรเพศผู้. 10. ก้านก้านชูอับเรณูแต่ละก้านจะยาวไม่เท่ากันมีขนาดตั้งแต่. 1.5-2.5. เซนติเมตรอับเรณูเป็นสีเหลืองสดลักษณะเป็นรูปขอบขนานยาวประมาณ. 3-5. มิลลิเมตรและมีเกสรเพศเมียอยู่ระหว่างกลางอีก. 1. ก้านมีขนาดใหญ่และยาวกว่าเกสรเพศผู้ก้านชูเกสรเพศเมียจะยาวประมาณ. 1. เซนติเมตรรังไข่รูปขอบขนาน ยาวประมาณ. 6-8. มิลลิเมตรก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ. 1-2. เซนติเมตรและยอดเกสรเพศเมียมีลักษณะเป็นแผ่นกลมสามารถออกดอกได้ตลอดทั้งปี. สรรพคุณของกาหลง. ดอกมีรสสุขุมช่วยลดความดันโลหิต. ดอก. ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ. ดอก. ราก. ใบใช้รักษาแผลในจมูก. ใบ. ดอกช่วยแก้เลือดออกตามไรฟัน. ดอก. บ้างก็ว่าในส่วนของต้นก็มีสรรพคุณแก้ลักปิดลักเปิดเช่นกัน. ต้น. ต้นและรากเป็นยาแก้เสมหะ. ต้น. ราก. ดอกช่วยแก้เสมหะพิการ. ดอก. ช่วยแก้อาการอาเจียนเป็นเลือด. ดอก. รากใช้ต้มเป็นยาดื่มช่วยแก้อาการไอ. ราก. รากใช้เป็นยาแก้บิด. ราก. ต้นกาหลงเป็นยาแก้โรคสตรี. ต้น. ประโยชน์ของกาหลง. ดอกสามารถใช้รับประทานได้และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทาน. ต้นกาหลงนิยมนํามาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือนและใช้ปลูกตามที่สาธารณะอาจจะเป็นต้นแบบเดี่ยว ๆหรือใช้ปลูกเป็นกลุ่ม ๆมีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอมสามารถออกดอกได้ตลอดปีอีกทั้งรูปร่างของใบและทรงพุ่มก็งดงามสามารถจัดแต่งทรงพุ่มได้ง่ายปลูกเลี้ยงได้สบายไม่ต้องการปุ๋ยมากและขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิดเพราะสามารถจับปุ๋ยจากอากาศได้เองแต่ควรปลูกไม้พุ่มเตี้ยด้านหน้าเพื่อใช้บังโคนต้นที่เปิดโล่งอยู่ของต้นกาหลง. ชาวจีนมักปลูกต้นกาหลงไว้เป็นไม้ประจําบ้านด้วยเชื่อว่าต้นกาหลงเป็นไม้ที่ให้คุณแก่เจ้าของบ้าน. ข้อควรระวังในการใช้. บริเวณใบและกิ่งของต้นกาหลงจะมีขนอ่อน ๆ ขึ้นอยู่ประปรายหากสัมผัสกับผิวหนังโดยตรงจะทําให้ระคายเคืองผิวหนังได้